"เพิ่มศักยภาพให้กับพนักงาน เพื่อบริหารจัดการทั้งงานและการใช้ชีวิตได้อย่างลงตัว ในแบบฉบับชไนเดอร์ อิเล็คทริค"
ในชีวิตการทำงานหลายท่ านคงเคยตกอยู่ในสภาพที่เรื่ อยเฉื่อย หรือรู้สึกว่ากำลังวิ่งถอยหลั งแทนที่จะวิ่งไปข้างหน้าหรื อเปล่า ผมพูดได้เลยว่าคุณไม่ได้เป็นอยู่ คนเดียวแน่นอน สิ่งที่อาจจะดูย้อนแย้งก็คือ การพยายามปรับตัวให้เข้ากั บการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่ างรวดเร็วในชีวิตของเรา บ่อยครั้งอาจทำให้เราละเลยสิ่ งสำคัญที่ช่วยสร้างการเปลี่ ยนแปลงได้ เช่นพลังของตัวเราเอง แม้ว่าเรื่องนี้อาจเรื่ องเฉพาะสำหรับบุคคลคนใดคนหนึ่ งก็ตาม แต่ก็มีผลต่อองค์กรเช่นกัน
โทนี่ ชวาทซ์ และคริสติน โปราธ เคยตั้งข้อสันนิษฐานไว้ในบทความ HBR ของตน หลังจากที่ได้ทำการสำรวจผู้ คนจำนวน 19,000 คน พบว่า “พนักงานจะรู้สึกดีขึ้น ทำงานได้ดีขึ้น และยั่งยืนยิ่งขึ้น หากได้รับตอบสนองความต้องการขั้ นพื้นฐาน 4 ประการได้แก่ 1) การฟื้นฟู (ทางกายภาพ) 2) คุณค่า (ทางอารมณ์) 3) การมุ่งเน้น (เรื่องจิตใจ) และ 4) จุดมุ่งหมาย (ทางจิตวิญญาณ)
อย่างไรก็ตามแม้ว่าจะมีจุดที่ เชื่อมโยงกันระหว่างพนักงานที่ มีความก้าวหน้าและสถานที่ ทำงานที่มุ่งเน้นเรื่องสุ ขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี หรือ well-being แต่กลับมีเพียง 14% ในองค์กรที่มองว่าเรื่องนี้เป็ นเรื่องที่สำคัญอันดับต้นๆ ของบริษัท นอกจากนี้ยังมีความย้อนแย้ งภายในองค์กรที่พนักงานต้องเผชิ ญอยู่ทุกวัน ในประเด็นที่ว่าทำอย่างไรจึ งจะได้ผลลัพธ์ที่มากขึ้นเรื่อยๆ โดยใช้ทรัพยากรให้น้อยลง ซึ่งทั้งสององค์ประกอบนี้เป็ นเสมือนเคราะห์ซ้ำกรรมซัด และอาจนำไปสู่การขาดสมาธิ ในการทำงานตามมาด้วยความเหนื่ อยล้าและอยากหลุดพ้นจากสภาพดั งกล่าว
สิ่งจูงใจที่ชัดเจนสำหรับองค์ กรโดยทั่วไป คือการลงทุนในโปรแกรมที่สร้ างความเป็นอยู่ที่ดี นั่นคือ การให้ความช่วยเหลือด้านต่างๆ แต่แค่ประเด็นนี้เพียงอย่างเดี ยว จะช่วยให้บรรลุการเปลี่ ยนแปลงทางวัฒนธรรมซึ่งเป็นเรื่ องยากได้หรือไม่? ในมุมมองของผมกลยุทธ์ที่ดีกว่า ควรเป็นเรื่ องของความพยายามในการเปลี่ ยนแปลงสิ่งที่เป็นพื้นฐานให้ มากขึ้น ซึ่งจะนำไปสู่หัวใจของเรื่องนี้ ซึ่งที่ชไนเดอร์ อิเล็คทริค เรากำลังพยายามทำเรื่องดังกล่าว แต่ก็เหมือนกับการเปลี่ ยนแปลงทางวัฒนธรรมอื่นๆ ที่ไม่สามารถทำได้ในชั่วข้ามคืน
ปรัชญาของชไนเดอร์ อิเล็คทริค
ปัจจัยพื้นฐานของการเปลี่ ยนแปลงสำหรับ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค เริ่มจากคำมั่นสัญญาเรื่องของคุ ณค่าที่นำเสนอให้แก่พนักงาน ในเรื่องที่พนักงานจะได้รับอิ สระในการบริหารจัดการทั้ งการทำงานและชีวิตส่วนตัวที่มี ความแตกต่างกันในแบบฉบับของตั วเอง ทำไมเรื่องนี้จึงเป็นเรื่องสำคั ญ และมีแนวทางการปฏิบัติอย่ างไรให้เห็นผล?
แนวทางตามความริเริ่ม
ในขณะที่คิดกลยุทธ์ในเรื่องเหล่ านี้ เราตระหนักว่าการปรับเปลี่ ยนพฤติกรรมส่วนตัวและส่วนรวม เสมือนเป็นการเดินทางที่ ยาวนานและจำเป็นต้องแก้ที่พื้ นฐานก่อนเป็นอันดับแรก
การฝึกอบรม
การสร้างการรับรู้และการฝึ กอบรมเกี่ยวกับความเป็นอยู่ที่ ดี (well-being) นับเป็นเรื่องสำคัญ โดยเราเริ่มต้นจากการให้ผู้ นำระดับสูงของชไนเดอร์ อิเล็คทริค จำนวน 2,000 ราย เข้ารับการฝึกอบรมในเรื่ องความเป็นอยู่ที่ดี เพื่อแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่ นในเรื่องดังกล่าว ซึ่งนับเป็นการกระตุ้นและสร้ างแรงผลักดันได้อย่างดี สุดท้ายมีพนักงานกว่า 38,000 คนที่เข้าร่วมโปรแกรมการฝึ กอบรมและสร้างการรับรู้ในเรื่ องนี้
ห้องปฏิบัติการ “ความเป็นอยู่ที่ดี หรือ Well-being Labs”
อย่างที่ชื่อบอกไว้ ห้องปฏิบัติการเป็นสิ่งจำเป็ นสำหรับทีมในการทดลองเกี่ยวกั บพฤติกรรมใหม่ๆ ที่จะเปลี่ยนวิถีการทำงาน เพราะ เราเชื่อว่าการทำสิ่งเล็กๆ ในทุกวัน สามารถนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงวั ฒนธรรมได้อย่างมีนัยสำคัญ
ตั้งแต่แรกเริ่ม ห้องปฏิบัติการจะถูกเรียกว่าเป็ นการผจญภัยร่วมกัน ทั้งการร่วมกันออกแบบ ไปจนถึงร่วมกันลงมือปฏิบัติ เพื่อทำเรื่องนี้ให้เป็นจริงขึ้ นมา จึงมีการเปิดตัวแคมเปญระดั บโลกเพื่อระดมความคิดเห็น ‘crowdsourcing campaign’ ขึ้นเป็นครั้งแรก เพื่อรวบรวมความคิดที่มีแนวโน้ มว่าจะทำได้จริงเพื่อสร้ างการเปลี่ยนแปลงให้กับการใช้ชี วิตของผู้คน
ในปัจจุบันมีห้องปฏิบัติการกว่า 1,000 แห่ง ที่ใช้จัดกิจกรรมอยู่ เช่น “กิจกรรมยืดความสุข” “โยคะรายสัปดาห์” “การประชุมอย่างใส่ใจ” “10,000 ก้าวต่อวัน” “พลังแห่งการงีบ” “การกำจัดการเสียเวลา” “กิจกรรมการกุศล” “5 ภาษาที่ช่วยสร้างคุณค่า” และอื่น ๆ อีกมากมาย
สถานที่ทำงานแห่งอนาคต
ชไนเดอร์ อิเล็คทริค คิดเรื่องสถานที่ทำงานขึ้นใหม่ โดยมีการออกแบบที่สอดคล้องกันทั่ วโลก ทั้งในทุกแง่มุมของสถานที่ทำงาน ไม่ว่าจะเป็นตำแหน่งที่ตั้ง ความง่ายในการเข้าถึง สถาปัตยกรรม โครงสร้าง การออกแบบ รวมถึงเฟอร์นิเจอร์ ทั้งหมดได้ถูกนำมาคิดทบทวนใหม่ ภายใต้กรอบการใช้ทรัพยากรที่มี อยู่ให้ได้อย่างรอบคอบมากที่สุด นอกจากสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ยังต้องให้ความมั่นคงและมี ระบบรักษาปลอดภัยที่ทันสมัยที่ สุดได้อย่างไร้ที่ติ อีกทั้งต้องมุ่งเน้นเสริมสร้ างความเป็นอยู่ที่ดี มีนวัตกรรม ครอบคลุมคนทุกกลุ่ม และให้ประสิทธิภาพการทำงาน และเมื่อสถานที่ทำงานเริ่มเข้ าสู่ความมีชีวิตชีวา ทุกคนจะเข้าใจได้เองว่ าทำไมสถานที่ทำงานจึงมีความสำคั ญมากต่อการสร้างแรงบันดาลใจให้ พนักงาน และช่วยสร้างการเปลี่ ยนแปลงในแบบที่เรามองหากัน
ภาระที่หนักอึ้ง
ความก้าวหน้าของเราด้านการสร้ างพื้นฐานที่ดี ช่วยให้เราสามารถทำภารกิจที่ ยากในการสร้างการเชื่อมโยงระหว่ างความเป็นอยู่ที่ดีและการมีศั กยภาพในการทำงาน หลักความจริงซึ่งเป็นสิ่งเรี ยบง่าย ก็คือหากคนทำงานไม่มีศั กยภาพในการเลือกตัดสินใจเกี่ ยวกับการทำงานและการใช้ชีวิต คนเหล่านี้ก็แทบจะไม่มี โอกาสในการรักษาสถานภาพความเป็ นอยู่ที่ดีให้กับตัวเอง สำหรับเราที่ชไนเดอร์ อิเล็คทริค สิ่งเหล่านี้นับเป็นเรื่องสำคัญ ได้แก่
ความยืดหยุ่น
“ความยืดหยุ่นเป็นเรื่องส่วนบุ คคล” และ “51% ของพนักงานทั้งหมดต้องการทางเลื อกในการทำงานได้อย่างยืดหยุ่ นมากขึ้น” แทนที่จะให้ทางเลือกแก่พนั กงานในการเลือกชั่ วโมงการทำงานเอง เรากลับมุ่งเน้นที่วั ฒนธรรมการทำงานที่ฉลาดด้ วยการให้ความยืดหยุ่นเรื่ องสถานที่ทำงาน และเวลาทำงาน รวมถึงสภาพแวดล้อมในการทำงานร่ วมกันได้อย่างยืดหยุ่น
แนวทางใหม่ในการทำงาน
“ความสามารถในการรับรู้ของคุ ณจะลดลงอย่างมาก เมื่อมีสมาร์ทโฟนอยู่ใกล้มือ ถึงแม้ว่าจะปิดเครื่องอยู่ก็ ตาม” ในขณะที่มีการแจ้งเตือนใดๆ เกิดขึ้นกับสมาร์ทโฟน เหมือนเป็นสัญญาณบ่งชี้ว่ าความปรารถนาที่จะเชื่อมโยงกั บโลกดิจิตอลได้บังเกิดขึ้นแล้ว ดังนั้น ชไนเดอร์ อิเล็คทริค จึงได้ออกแบบแนวทางใหม่ ในการทำงานโดยคิดถึงความจริ งในข้อนี้ ไม่ว่าจะเป็นการประชุมที่มี ประสิทธิผล และการใช้อีเมลและเทคโนโลยีได้ อย่างมีประสิทธิภาพ หรือแม้แต่การส่งข้อความแชทต่ างๆ เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่พนั กงานสามารถตัดสินใจใช้ได้อย่ างอิสระ นอกจากนี้ผมพยายามให้พนั กงานงดการประชุมแบบ virtual meeting ในช่วงเวลาที่ไม่สมควร ในกรณีที่ต้องทำงานกับบุคคลที่ ไทม์โซนแตกต่างกัน
วัฒนธรรม และความเป็นผู้นำ คือเรื่องใหญ่
พฤติกรรมของผู้นำมีผลกระทบสูงสุ ดต่อการสร้างสภาพแวดล้อมที่พนั กงานรู้สึกปลอดภัยและมีพลั งในการทำงาน มีข่าวดีที่ว่าการทำงานให้เกิ ดประสิทธิภาพสูงไม่จำเป็นต้ องเสียสละทั้งร่างกายและจิตใจ แต่ในความเป็นจริงกลับตรงกันข้ ามกันด้วยซ้ำ ซึ่งผู้นำต้องยอมรับความจริ งในข้อนี้ ตัวอย่างเช่น ที่ผ่านมาเคยมีการเปิดตั วโปรแกรม #FreeUpYourEnergy ของชไนเดอร์ อิเล็คทริค สิ่งที่เราขอให้ผู้นำทั้งหมดทำ ก็คือการให้ศักยภาพแก่พนั กงานและมีความเชื่อมั่นว่าพนั กงานจะทำงานสำเร็จ พร้อมทั้งไม่ให้พยายามที่จะเข้ าไปบริหารจัดการในเรื่องที่เป็ นรายละเอียดปลีกย่อย
โดยรวมแล้ว การได้รับความคิดเห็นจากใจจริ งของพนักงานพร้อมกับการรับรู้ถึ งความพยายามของเราที่ได้รั บจากภายนอก เป็นการชี้ให้เห็นว่าเรามุ่งหน้ าไปในทิศทางที่ถูกต้องแล้ว แต่ก็ยังมีสิ่งที่ต้องทำอี กมากมาย
โดยส่วนตัวแล้ว ความเป็นอยู่ที่ดีของผมในช่ วงหลายปีที่ผ่านมา เกิดจากการผสมผสานกันในหลายด้าน ทั้งการที่องค์กรให้ความยืดหยุ่ นในการทำงาน ให้ทางเลือกในการจัดการกั บตารางเวลาของตัวเองได้ มีเวลาให้หยุดพักเพื่อฟื้นฟูตั วเองในช่วงที่จำเป็น และทำในสิ่งที่เติมเต็มความต้ องการส่วนตัวได้ ซึ่งถ้าหากผมไม่ได้ให้ความใส่ ใจกับเรื่องเหล่านี้ ก็แทบจะจัดการกับความต้องการเรื่ องงานไม่ได้เลย เพราะมันเกี่ยวข้องกับการเรี ยนรู้อย่างต่อเนื่อง รวมถึงการสร้างอนาคตให้กับบริษั ทของเรา และแน่นอน เป็นเรื่องของการออกแบบกลยุทธ์ และดำเนินการร่วมกับทีมเพื่อให้ อยู่เหนือตลาดได้ในที่สุด จากการทุ่มเทแรงใจ ความมุ่งมั่น และความรื่นรมย์ในการทำงาน
ท้ายที่สุด ผมไม่ได้คาดหวังว่าจะได้เห็ นความต้องการที่สร้างขึ้ นจากสภาพแวดล้อมในเร็ววัน ดังนั้นไม่ว่าในการทำงานหรื อการใช้ชีวิต ลองเปลี่ยนกฎเกณฑ์ ในเกมการทำงานใหม่ และทำงานด้วยวิธีสมาร์ทขึ้ นและตั้งใจทำสิ่งที่ เราสามารถใช้พลังทำมันได้ดีที่ สุด
Post a Comment